วันอังคารที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2554

ระบบปฏิบัติการ DOS

ระบบปฏิบัติการ DOS

DOS เป็นระบบปฏิบัติการ (operating system) ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของเครื่องและอุปกรณ์ต่างๆ
การเรียก DOS ขึ้นมาใช้งานจะเรียกว่า การ Boot DOS ซึ่งมี 2 วิธี
Cold Boot - การ Boot DOS ในขณะที่เครื่องปิดอยู่ ซึ่งมีขั้นตอน คือ
1. ใส่แผ่น DOS ใน Drive A (กรณี Boot จากแผ่น)
2. เปิดสวิตซ์เครื่องและจอภาพตามลำดับ
Warm Boot - การ Boot DOS ในขณะที่เครื่องเปิดอยู่แล้ว ซึ่งจะใช้วิธีนี้เมื่อเครื่องเกิดอาการ hang ขณะที่กำลังใช้งาน
1. ใส่แผ่น DOS ใน Drive A (กรณี Boot จากแผ่น)
2. กดปุ่ม Ctrl-Alt-Del แล้วปล่อย
1. การใช้แฟ้มข้อมูล
กฎการตั้งชื่อ file
1. มีความยาวไม่เกิน 8 ตัวอักษร
2. ไม่มีช่องว่างระหว่างชื่อ
3. ไม่มีอักขระพิเศษดังนี้ . “ / \ : | < > = ; ,
4. สามารถใส่นามสกุลหรือส่วนขยาย (Extension) ได้ไม่เกิน 3 ตัว ซึ่งต้องมีจุดคั่นระหว่างชื่อกับนามสกุล
ตัวอย่างชื่อไฟล์
A:\SUB1\SUB11\TEST.DAT ส่วนขยายไฟล์
จุดเชื่อมระหว่างชื่อกับส่วนขยายไฟล์
ชื่อไฟล์
Path (Directory และ Sub Directory)
ชื่อไดร์ฟ เช่น A: B: C:
ตัวอย่างการตั้งชื่อไฟล์ TEST 123 FILE1 EX09 TEST.DAT EXAM.TXT
2. เครื่องหมายพิเศษที่ใช้แทนชื่อไฟล์เป็นกลุ่ม (Wildcard Character)
? แทนอักขระใดก็ได้ 1 หรือ 0 ตัว ที่ตำแหน่ง ? นั้น
เช่น TEST?.DAT อาจหมายถึงไฟล์ที่ขึ้นต้นด้วย TEST ตามด้วยอักขระใดๆก็ได้ 1 หรือ 0 ตัว ที่มีส่วนขยายเป็น
DAT ดังนั้น TEST.DAT , TEST1.DAT หรือ TEST2.DAT จะอยู่ในกลุ่มการอ้างถึงแบบนี้ แต่ไฟล์ TEST11.DAT
ไม่อยู่ในกลุ่มการอ้างถึงแบบนี้
* แทนอักขระใดๆ ก็ได้ที่ตำแหน่ง * นั้น
เช่น EXAM*.DAT อาจหมายถึงไฟล์ EXAM.DAT, EXAM1.DAT, EXAM12.DAT หรือ EXAMPLE.DAT

*.* หมายถึงไฟล์ทุกไฟล์ ทุกชื่อ ทุกส่วนขยาย
*T.DAT หมายถึงไฟล์ที่ชื่อขึ้นต้นด้วยอักขระใดๆ ลงท้ายด้วย T และมีส่วนขยายเป็น DAT
3. ประเภทของคำสั่ง DOS
3.1 คำสั่งภายใน (Internal Command)
• เป็นคำสั่ง DOS ที่อยู่ในหน่วยความจำ (RAM) ตลอดเวลาซึ่งถูกบรรจุตั้งแต่ Boot DOS ดังนั้นใน
การเรียกใช้คำสั่งภายใน จึงไม่ต้องมีแผ่น DOS
• คำสั่งภายในจะเป็นส่วนหนึ่งของไฟล์ COMMAND.COM ดังนั้นเมื่อเรียกดูไฟล์ (DIR) จะไม่เห็น
3.2 คำสั่งภายนอก (External Command)
• เป็นคำสั่งที่เก็บในแผ่น DOS ดังนั้นเมื่อใช้คำสั่งนี้ต้องมีแผ่น DOS ทุกครั้ง (ในกรณี Boot จากแผ่น)
• คำสั่งประเภทนี้เมื่อเรียกดูไฟล์ (DIR) จะมีส่วนขยายเป็น COM หรือ EXE
4. รูปแบบของคำสั่ง
ตัวอักษรพิมพ์ใหญ่ เป็นข้อความสำคัญ (Keyword) ต้องพิมพ์และสะกดตามนั้น
ตัวอักษรพิมพ์เล็ก เป็นสิ่งที่ผู้ใช้ต้องระบุค่า
[ ] (วงเล็บก้ามปู) ส่วนของข้อความที่อยู่ในเครื่องหมายนี้ไม่จำเป็นต้องใส่ค่า แต่ถ้าใส่เข้าไปจะปฏิบัติงาน
ตามนั้น (ให้เลือกปฏิบัติ)
| เป็นเครื่องหมายคั่นระหว่างกิจกรรม 2 อย่าง ซึ่งให้เลือกเอาอย่างใดอย่างหนึ่ง
(I) เป็นคำสั่งภายใน
(E) เป็นคำสั่งภายนอก
5. คำสั่งต่างๆ
5.1 คำสั่ง DIR
รูปแบบคำสั่ง (I) DIR [d:] [filename.[.ext]] [/P] [/W]
เป็นคำสั่งภายในการเรียกดูชื่อและรายละเอียดแฟ้มข้อมูล (file) ในแผ่น
d: ระบุไดร์ฟของแผ่น
filename ชื่อแฟ้มข้อมูลที่ต้องการค้นหา
.ext ส่วนขยายของชื่อแฟ้มข้อมูลที่ต้องการค้นหา
/P แสดงทีละจอภาพ
/W แสดงเฉพาะรายชื่อเรียงกันแถวละ 5 ชื่อ
ตัวอย่าง
C:\>DIR
C:\>DIR A:

C:\>DIR COMMAND.COM
C:\>DIR DOS
C:\>DIR DOS\*.EXE
C:\>DIR DOS\ ????.*
C:\>DIR DOS\W?????.EXE
5.2 คำสั่ง COPY
รูปแบบคำสั่ง (I) COPY [d1:] [path] filename1 [.ext]
หรือ
COPY [d1:] [path] filename1 [.ext] [d2:] [path]
หรือ
COPY [d1:] [path] filename1 [.ext]
[d2:] [path] filename2 [.ext]
เป็นคำสั่งในการสำเนาแฟ้มข้อมูล
ตัวอย่าง
A:\>COPY C:\COMMAND.COM
A:\>COPY C:\DOS\?????.EXE
C:\>COPY COMMAND.COM A :COMMANDC.COM
5.3 คำสั่ง COPY CON
รูปแบบคำสั่ง (I) COPY CON [d1:] [path] filename [.ext]
เป็นคำสั่งในการสร้างแฟ้มข้อมูล (โดยรับข้อมูลจากคีย์บอร์ด แล้วจบด้วย Ctrl+Z ตามด้วย Enter)
ตัวอย่าง
C:\>COPY CON A:EXAM1
5.4 คำสั่ง REN
รูปแบบคำสั่ง (I) REN [NAME] [d1:] [path] filename1 [.ext] filename2 [.ext]
เป็นคำสั่งในการเปลี่ยนชื่อแฟ้มข้อมูล (ไฟล์ยังคงเก็บอยู่ที่เดิม)
ตัวอย่าง
C:\>REN A:COMMANDC.COM COMMAND.DAT
C:\>REN A:*.EXE *.BAT

5.5 คำสั่ง DEL
รูปแบบคำสั่ง (I) DEL [d:] [path] filename [.ext]
เป็นคำสั่งในการลบแฟ้มข้อมูล
ตัวอย่าง
C:\>DEL A:COMMAND.DAT
C:\>DEL A:????.BAT
5.6 คำสั่ง TYPE
รูปแบบคำสั่ง (I) TYPE [d:] [path] filename [.ext]
เป็นคำสั่งในการขอดูข้อมูลในไฟล์
ตัวอย่าง
C:\>TYPE A:EXAM
C:\>TYPE A:\SUB2\EXAM2
5.7 คำสั่ง CLS
รูปแบบคำสั่ง (I) CLS
เป็นคำสั่งในการล้างจอภาพ
5.8 คำสั่ง DATE
รูปแบบคำสั่ง (I) DATE
เป็นคำสั่งในการขอดูหรือแก้ไขวันที่ ตามรูปแบบ mm-dd-yy
5.9 คำสั่ง TIME
รูปแบบคำสั่ง (I) TIME
เป็นคำสั่งในการขอดูหรือแก้ไขเวลา ตามรูปแบบ hh-mm[:ss[.xx]]
5.10 คำสั่ง VER
รูปแบบคำสั่ง (I) VER
เป็นคำสั่งในการขอดูเวอร์ชันของ DOS ที่ใช้
5.11 คำสั่ง VOL
รูปแบบคำสั่ง (I) VOL [d:]
เป็นคำสั่งในการขอดูชื่อแผ่น (volume label)
5.12 คำสั่ง LABEL
รูปแบบคำสั่ง (E) [d:] [path] LABEL
เป็นคำสั่งในการขอดูหรือแก้ไขชื่อแผ่น
5
5.13 คำสั่ง PROMPT
รูปแบบคำสั่ง (I) PROMPT
เป็นคำสั่งในการเปลี่ยนเครื่องหมายเตรียมพร้อม (DOS Prompt) โดยใช้เครื่องหมาย $ นำหน้าอักษรต่อไปนี้
t เวลา
d วันที่
v เวอร์ชัน DOS
n ไดร์ฟ
g เครื่องหมายมากกว่า
l เครื่องหมายน้อยกว่า
q เครื่องหมายเท่ากับ
b เครื่องหมาย :
ตัวอย่าง
C:\>PROMPT $n
C:\>PROMPT $g
C:\>PROMPT $n$g
C:\>PROMPT $d$q
C:\>PROMPT $p$g
5.14 คำสั่ง MD
รูปแบบคำสั่ง (I) MD [d:] [path] หรือ MKDIR [d:] [path]
เป็นคำสั่งในการสร้างไดเรคทอรี
ตัวอย่าง
A:\>MD SUB1
A:\>MD \SUB1
A:\>MD \SUB1\SUB11
5.15 คำสั่ง CD
รูปแบบคำสั่ง (I) CD [d:] [path]
เป็นคำสั่งในการย้ายการทำงานเข้าสู่ไดเรคทอรี
ตัวอย่าง
A:\>CD \SUB1
A:\>CD \SUB1\SUB11
CD.. ย้ายออกจากไดเรคทอรีปัจจุบัน 1 ขั้น
CD\ ย้ายกลับมาที่ root directory
5.16 คำสั่ง RD
รูปแบบคำสั่ง (I) RD [d:] [path]
เป็นคำสั่งในการลบไดเรคทอรี
6
ตัวอย่าง
A:\>RD \SUB1
A:\>RD \SUB1\SUB11
5.17 คำสั่ง TREE
รูปแบบคำสั่ง (E) [d:] TREE [d:] [path] [/F]
เป็นคำสั่งในการขอดูโครงสร้างไดเรคทอรี
/F แสดงชื่อไฟล์ด้วย
ตัวอย่าง
C:\>TREE A:
C:\>TREE A:/F
5.18 คำสั่ง FORMAT
รูปแบบคำสั่ง (E) [d:] [path] FORMAT [d:] [/S] [/V] [/1] [/8] [/B] [/4]
เป็นคำสั่งในการเตรียมแผ่นดิสเกตต์ไว้ใช้งาน
d: ระบุไดร์ฟ
path ระบุเส้นทางไดเรคทอรี
/S ฟอร์เมทแผ่นไว้ใช้งานและสามารถใช้บูทเครื่องได้
/V ขอตั้งชื่อแผ่นดิสเกตต์ด้วย
/B ฟอร์เมทแผ่นแบบ 8 sector ต่อ track พร้อมทั้งเป็นแผ่นบูทเครื่องได้
/4 จะทำการฟอร์เมทแผ่นแบบ double-side ให้เป็นแบบ high-capacity
ตัวอย่าง
C:\>FORMAT A:/S
C:\>FORMAT A:/V





คำสั่งระบบปฏิบัติการ Unix


1.คำสั่ง man เป็นคำสั่งที่เป็นคู่มือการใช้คำสั่งแต่ละคำสั่งเช่น$ man ls$ man cp
2.คำสั่ง alias ใช้ย่อคำสั่งให้สั้นลง $ alias l = ls -l$ alias c = clear
3.คำสั่ง cal เป็นคำสั่งที่ใช้แสดง ปฏิทินของระบบ
4.คำสั่ง clear มีค่าเหมือนกับ คำสั่ง cls ของ dos ใช้ลบหน้าจอ terminal ให้ว่าง$ clear
5.คำสั่ง cmp เปรียบเทียบไฟล์สองไฟล์
6.คำสั่ง cat มีค่าเหมือนกับ คำสั่ง type ของ dos ใช้ดูข้อมูลในไฟล์ เช่น$ cat filename
7.คำสั่งcut เพื่อดึงฟิลด์ที่ 3 จากไฟล์ /etc/passwd โดยระบุ : (colon) เป็นตัวคั่นฟิลด์ (-d:) และดึงเฉพาะฟิลด์ที่ 3 (-f3)
8.คำสั่ง date ใช้แสดง วันที่ และ เวลา$ date 17 May 1999
9.คำสั่งdiff ใช้เปรียบเทียบไฟล์สองไฟล์ว่ามีความกว้างห้องต่างกันอย่างไร
10.คำสั่ง echo $ echo "Hello" ใช้แสดงข้อความ "Hello" ขนาดปกติ
11.คำสั่งexit คำสั่งที่ใช้ในการออกจาก shell ที่เรกำลังใช้งานอยู่
12.คำสั่งexpv ประมวลคำจากสูตรคณิตศาสตร์
13.คำสั่ง find ใช้ค้นหาไฟล์ที่ต้องการ เช่น $ find /usr/bin -name "*sh" -print หาไฟล์ที่ลงท้ายด้วย sh จาก /usr/bin
14.คำสั่งfinger ใช้แสดงรายละเอียดของผู้ใช้
15.คำสั่ง grep ใช้คนหาข้อความที่ต้องการจากไฟล์ $ grep ข้อความ file
16.คำสั่งhead จะแสดงส่วนหัวของแฟ้มข้อมูล ตามจำนวนบรรทัดที่ต้องการ
17.คำสั่ง more แสดงข้อมูลทีละหน้าจอ อาจใช้ร่วมกับเครื่องหมาย pipe line ( ) หากต้องการดูหน้าถัดไปกด space ดูบรรทัดถัดไปกด Enter เช่น$ ls -la more$ more filename
18.คำสั่งless เป็นการพัฒนาคำสั่ง more ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เนื่องจาก more จะไม่สามารถดูข้อมูลย้อนหลังได้ less จึงเป็นปรับปรุงและเพิ่มเติมเงื่อนไขบางอย่างให้ more
19.คำสั่งpasswd เปลี่ยน passwovd คนทำงานปัจจุบัน
20.คำสั่งsort ใช้เพื่อทำการจัดเรียงข้อมูลในแฟ้มตามลำดับ (ทั้งนี้จะถือว่าข้อมูลแต่ละบรรทัดเป็น 1 record และจะใช้ field แรกเป็น key)
21.คำสั่งsu จะเปลี่ยนตนเองเป็น super userเพื่อใช้สิทธิสูงสุดในการบริหารระบบ
22.คำสั่งtail จะแสดงส่วนท้ายของข้อมูลตามจำนวนบรรทัดที่ต้องการ
23.คำสั่งtouch สร้างไฟล์ที่ว่างเปปล่าหรือปรับเปลี่ยนวันเวลาที่บันทึกลงบนไฟล์
24.คำสั่งw ใช้แสดงว่าใครใช้งานอยู่บ้างขณะนั้น $ w
25.คำสั่งwhoami ใช้เพื่อแสดงว่าผู้ใช้ซึ่ง login เข้าสู่ระบบนั้น (ตัวเราเอง) login ด้วยชื่ออะไร
26.คำสั่งwho ใช้แสดงว่าใครใช้งานอยู่บ้างขณะนั้น$ who
27.คำสั่งwhich คำสั่งเพื่อส่งข้อมูลทางเดียวจากผู้เขียนไปถึงผู้รับ
28.คำสั่งwheveis ค้นหาแฟ้มที่ต้องการว่าอยู่ที่ห้องใดแต่ค้นหาได้เฉพาะที่



คำสั่ง telnet
เป็นคำสั่งที่เปลี่ยน host ที่ใช้อยู่ไปยัง host อื่น (ใน Windows 95 ก็มี)
รูปแบบ $ telnet hostname
เช่น c:> telnet student.rit.ac.th เปลี่ยนไปใช้ host ชื่อ student.rit.ac.th
$ telnet 202.44.130.165 เปลี่ยนไปใช้ host ที่มี IP = 202.44.130.165
$ telnet 0 telnet เข้า host ที่ใช้อยู่นะขณะนั้น
เมื่อเข้าไปได้แล้วก็จะต้องใส่ login และ password และเข้าสู่ระบบยูนิกส์นั้นเอง

คำสั่ง ftp
ftp เป็นคำสั่งที่ใช้ถ่ายโอนไฟล์ข้อมูลจากที่หนึ่ง ไปยังอีกที่หนึ่ง โดยการติดต่อกับ host ที่เป็น ftp นั้นจะต้องมี user name และมี password ที่สร้างขึ้นไว้แล้ว แต่ก็มี ftp host ที่เป็น public อยู่ไม่น้อยเช่นกัน ดังนั้นจะมี user name ที่เป็น publicเช่นกัน คือ user ที่ชื่อว่า anonymous ส่วน password ของ user anonymous นี้จะใช้เป็น E-mail ของผู้ที่จะ connect เข้าไปและโปรแกรมส่วนใหญ่ก็จะอยู่ใน directory ชื่อ pub
รูปแบบ $ ftp hostname
เช่น c:windows> ftp wihok.itgo.com
$ ftp ftp.nectec.or.th
คำสั่ง ftp จะมีคำสั่งย่อยที่สำคัญๆ ได้แก่
ftp> help ใช้เมื่อต้องการดูคำสั่งที่มีอยู่ใในคำสั่ง ftp
ftp> open hostname ใช้เมื่อต้องการ connect ไปยัง host ที่ต้องการ
ftp> close ใช้เมื่อต้องการ disconnect ออกจาก host ที่ใช้งานอยู่
ftp> bye หรือ quit ใช้เมื่อต้องการออกจากคำสั่ง ftp
ftp> ls หรีอ dir ใช้แสดงชื่อไฟล์ที่มีอยู่ใน current directory ของ host นั้น
ftp> get ใช้โอนไฟล์ทีละไฟล์จาก host ปลายทางมายัง localhost หรือเครื่องของเรานั้นเอง
ftp> mget ใช้โอนไฟล์ทีละหลายๆไฟล์จาก host ปลายทางมายัง localhost
ftp> put ใช้โอนไฟล์ทีละไฟล์จาก localhost ไปเก็บยัง host ปลายทาง
ftp> mput ใช้โอนไฟล์ทีละหลายๆไฟล์จาก localhost ไปเก็บยัง host ปลายทาง
ftp> cd ใช้เปลี่ยน directory
ftp> delete และ mdelete ใช้ลบไฟล์

คำสั่ง ls
มีค่าเหมือนกับ คำสั่ง dir ของ dos
รูปแบบ $ ls [-option] [file]
option ที่สำคัญ

l แสดงแบบไฟล์ละบรรทัด แสดง permission , เจ้าของไฟล์ , ชนิด , ขนาด , เวลาที่สร้าง
a แสดงไฟล์ที่ซ่อนไว้ ( dir /ah)
p แสดงไฟล์โดยมี / ต่อท้าย directory
F แสดงไฟล์โดยมีสัญญลักษณ์ชนิดของไฟล์ต่อท้ายไฟล์คือ
/ = directory
* = execute file
@ = link file
ld แสดงเฉพาะ directory (dir /ad)
R แสดงไฟล์ที่อยู่ใน directory ด้วย (dir /s)

เช่น
$ ls
$ ls -la

คำสั่ง more
แสดงข้อมูลทีละหน้าจอ อาจใช้ร่วมกับเครื่องหมาย pipe line ( | ) หากต้องการดูหน้าถัดไปกด space ดูบรรทัดถัดไปกด Enter เช่น
$ ls -la | more
$ more filename

คำสั่ง cat
มีค่าเหมือนกับ คำสั่ง type ของ dos ใช้ดูข้อมูลในไฟล์ เช่น
$ cat filename

คำสั่ง clear
มีค่าเหมือนกับ คำสั่ง cls ของ dos ใช้ลบหน้าจอ terminal ให้ว่าง
$ clear

คำสั่ง date
ใช้แสดง วันที่ และ เวลา
$ date 17 May 1999

คำสั่ง cal
ใช้แสดง ปฏิทินของระบบ
รูปแบบ $ cal month year เช่น
$ cal 07 1999

คำสั่ง logname
คำสั่งแสดงชื่อผู้ใช้ขณะใช้งาน
$ logname

คำสั่ง id
ใช้แสดงชื่อและกลุ่มมของผู้ใช้งาน
$ id

คำสั่ง tty
แสดงหมายเลข terminal ที่ใช้งานอยู่
$ tty

คำสั่ง hostname
คำสั่งแสดงชื่อเครื่องที่ใช้อยู่
$ hostname

คำสั่ง uname
คำสั่งแสดง ชื่อและรุ่นของ OS ชื่อและรุ่นของ cpu ชื่อเครื่อง
$ uname -a

คำสั่ง history
คำสั่งที่ใช้ดูคำสั่งที่ใช้ไปแล้วก่อนหน้านี้
$ history
เวลาเรียกใช้ต้องมี ! แล้วตามด้วยหมายเลขคำสั่งที่ต้องการ

คำสั่ง echo และ banner
$ echo "Hello" ใช้แสดงข้อความ "Hello" ขนาดปกติ
$ banner "Hello" ใช้แสดงข้อความ "Hello" ขนาดใหญ่

คำสั่ง who , w และ finger
ใช้แสดงว่าใครใช้งานอยู่บ้างขณะนั้น
$ who
$ w
$ finger ดูผู้ใช้ที่ host เดียวกัน
$ finger @daidy.bu..ac.th ดูผู้ใช้โดยระบุ Host ที่จะดู
$ finger wihok ดูผู้ใช้โดยระบุคนที่จะดูลงไป
$ who am i แสดงชื่อผู้ใช้ เวลาที่เข้าใช้งาน และ หมายเลขเครื่อง
$ whoami เหมือนกับคำสั่ง logname

คำสั่ง pwd
แสดง directory ที่เราอยู่ปัจจุบัน
$ pwd

คำสั่ง mkdir
ใช้สร้าง directory เทียบเท่า MD ใน DOS
$ mkdir dir_name

คำสั่ง cp
ใช้ copy ไฟล์หนึ่ง ไปยังอกไฟล์หนึ่ง
รูปแบบ $ cp [-irfp] file_source file_target
option -i หากมีการทับข้อมูลเดิมจะรอถามก่อนที่จะทับ
option -r copy ไฟล์ทั้งหมดรวมทั้ง directory ด้วย
option -f ไม่แสดงข้อความความผิดพลาดออกหน้าจอ
option -p ยืนยันเวลาและความเป็นเจ้าของเดิม
$ cp file_test /tmp/file_test

คำสั่ง mv
ใช้ move หรือเปลี่ยนชื่อไฟล์
รูปแบบ $ mv [-if] file_source file_target
ความหมายของ option เช่นเดียวกับ cp
$ mv index.html main.html เปลี่ยนชื่อไฟล์ index.html เป็น main.html

คำสั่ง rm
ใช้ลบไฟล์หรือ directory โดยที่ยังมีข้อมูลภายในเทียบเท่า del และ deltree ของ dos
รูปแบบ $ rm [-irf] filename
$ rm -r dir_name ลบ dir_name โดยที่ dir_name เป็น directory ว่างหรือไม่ว่างก็ได้
$ rm -i * ลบทุกไฟล์โดยรอถามตอบ

คำสั่ง rmdir
ใช้ลบ directory ที่ว่าง เทียบเท่ากับ rd ของ Dos
$ rmdir dir_name

คำสั่ง alias
ใช้ย่อคำสั่งให้สั้นลง
$ alias l = ls -l
$ alias c = clear

คำสั่ง unalias
ใช้ยกเลิก alias เช่น
$ unalias c

คำสั่ง type
ใช้ตรวจสอบว่าคำสั่งที่ใช้เก็บอยู่ที่ใดของระบบ
รูปแบบ $ type command
$ type clear

คำสั่ง find
ใช้ค้นหาไฟล์ที่ต้องการ เช่น
$ find /usr/bin -name "*sh" -print หาไฟล์ที่ลงท้ายด้วย sh จาก /usr/bin

คำสั่ง grep
ใช้คนหาข้อความที่ต้องการจากไฟล์
$ grep ข้อความ file

คำสั่ง man
man เป็นคำสั่งที่เป็นคู่มือการใช้คำสั่งแต่ละคำสั่งเช่น
$ man ls
$ man cp

คำสั่ง write
ใช้ส่งข้อความไปปรากฎที่หน้าจอของเครื่องที่ระบุในคำสั่งไม่สามารถใช้ข้าม host ได้
เช่น $ write s0460003

คำสั่ง mesg
$ mesg ดู status การรับการติดต่อของ terminal
$ mesg y เปิดให้ terminal สามารถรับการติดต่อได้
$ mesg n ปิดไม่ให้ terminal สามารถรับการติดต่อได้

คำสั่ง talk
ใช้ติดต่อสื่อสารแบบสองทาง เหมือนกับการคุยโดยผู้ส่ง ๆ ไปแล้วรอการตอบกลับจาก ผู้รับ สามารถหยุดการติดต่อโดย Ctrl + c สามารถใช้ข้าม host ได้
รูปแบบ $ talk username@hostname

คำสั่ง pine
ใช้อ่านและส่งจดหมายข้างในจะมี menu ให้ใช้
คำสั่ง tar

ใช้สำหรับ รวมไฟล์ย่อยให้เป็นไฟล์ Packet คล้ายๆกับการ zip หลายๆไฟล์ให้เป็นไฟล์เดียวแต่ขนาดไฟล์ไม่ได้ลดลงอย่างการ zip โดยไฟล์ output ที่ได้จะตั้งชื่อเป็น filename.tar หรือการแตกไฟล์ packet จาก filename.tar ให้เป็นไฟล์ย่อยมักจะใช้คู่กับ gzip หรือ compress เพื่อทำการลดขนาด packet ให้เล็กลง

รูปแบบการใช้

$ tar -option output input
-option ประกอบด้วย -cvf , -tvf , -xvf แสดงดังด้านล่าง
output คือ ไฟล์.tar หรืออาจจะเป็น device เช่น tape ก็ได้
input คือ ไฟล์หรือกลุ่มไฟล์หรือ directory หรือรวมกันทั้งหมดที่กล่าวมา
$ tar -cvf Output_file.tar /home/myhome/*
Option -cvf ใช้สำหรับการรวมไฟล์ย่อยไปสู่ไฟล์ .tar จากตัวอย่าง รวมไฟล์ทุกไฟล์ที่อยู่ใน /home/myhome/ เข้าสู่ไฟล์ชื่อ Output_file.tar
$ tar -tvf filename.tar
Option -tvf ใช้แตกไฟล์ .tar เป็นไฟล์ย่อยๆแบบ preview คือแสดงให้ดูไม่ได้แตกจริงอาจใช้คู่กับ คำสั่งอื่น เพื่อให้ได้ประโยชน์ตามต้องการ เช่น tar -tvf filename.tar |more
$ tar -xvf filename.tar
Option -xvf ใช้แตกไฟล์ .tar เป็นไฟล์ย่อยๆ โดยจะแตกลง ณ current directory

คำสั่ง gzip

ใช้ zip หรือ Unzip ไฟล์ packet โดยมากแล้วจะเป็น .tar เช่น
$ gzip filename.tar ผลที่ได้จะได้ไฟล์ซึ่งมีการ zip แล้วชื่อ filename.tar.gz
$ gzip -d filename.tar.gz ใช้ unzip ไฟล์ผลที่ได้จะเป็น filename.tar

คำสั่ง Compress และ Uncompress

หลังจากการ compress แล้วจะได้เป็นชื่อไฟล์เดิมแต่ต่อท้ายด้วย .Z การใช้งานเหมือนกับ gzip และ gzip -d เช่น
$ compress -v file.tar จะได้ไฟล์ชื่อ file.tar.Z โดย Option -v จะเป็นการ verify การ compress
$ uncompress -v file.tar.Z

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น